โครงการ ALICE ของ CERN ที่พยายามตรวจจับอนุภาคในรูปแบบที่เหมือนขณะเกิด Big Bang รายงานถึงการค้นพบหลักฐานของ antihyperhelium-4 เป็นครั้งแรก โดยใช้ข้อมูลการชนของนิวคลีออนที่พลังงาน 5.02 TeV เมื่อปี 2018 มาค้นหาข้อมูลด้วย machine learning ที่ประสิทธิภาพการค้นข้อมูลดีกว่าเทคนิคเดิมๆ
antihyperhelium-4 ประกอบไปด้วย antiproton สองอนุภาค, antineutron หนึ่งอนุภาค, และ antilambda (lambda เป็นอนุภาคที่ประกอบไปด้วยควาร์ก 3 อนุภาค) การตรวจจับจะดูจากการสลายกลายเป็น antihelium-3
ทีมงานพบหลักฐานของ antihyperhelium-4 โดยมีระดับนัยสำคัญที่ 3.5 standard deviations (แปลว่าความมั่นใจเกือบ 100%)
การศึกษาถึงสสารในรูปแบบที่ใกล้เคียงเวลาก่อกำเนิดจักรวาลเช่นนี้จะช่วยห้เราเข้าใจถึงคุณสมบัติต่างๆ ของสสารในปัจจุบันไปด้วย
ที่มา - CERN
Topics:
CERN
Science
Continue reading...
antihyperhelium-4 ประกอบไปด้วย antiproton สองอนุภาค, antineutron หนึ่งอนุภาค, และ antilambda (lambda เป็นอนุภาคที่ประกอบไปด้วยควาร์ก 3 อนุภาค) การตรวจจับจะดูจากการสลายกลายเป็น antihelium-3
ทีมงานพบหลักฐานของ antihyperhelium-4 โดยมีระดับนัยสำคัญที่ 3.5 standard deviations (แปลว่าความมั่นใจเกือบ 100%)
การศึกษาถึงสสารในรูปแบบที่ใกล้เคียงเวลาก่อกำเนิดจักรวาลเช่นนี้จะช่วยห้เราเข้าใจถึงคุณสมบัติต่างๆ ของสสารในปัจจุบันไปด้วย
ที่มา - CERN
Topics:
CERN
Science
Continue reading...